วันจันทร์ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2560

ประเภทวรรณคดี

ประเภทของวรรณคดี
    การจำแนกประเภทของวรรณคดีออกเป็นประเภทต่าง ๆ ใช้เกณฑ์การจำแนก คือ  จำแนกตามจุดมุ่งหมาย  รูปแบบการประพันธ์  รูปแบบทั่วไป หรือจำแนกตามแนวคิดและเนื้อหาของวรรณคดี  ดังนี้

จำแนกตามจุดมุ่งหมาย
    จุดมุ่งหมายของการแต่งอาจแยกออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ  ๒ ประเภท คือ อ่านเพิ่มเติม  https://sites.google.com/site/hxngreiynkhrukeux/phumipayya-thiy/wrrnkhdi/prapheth-khxng-wrrnkhdi
 
 

วันอาทิตย์ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

การวิจักษ์และการวิจารณ์วรรณคดี

การวิจักษ์และการวิจารณ์วรรณคดี

  คือการเกิดความเข้าใจแจ่มแจ้งจนตระหนักในคุณค่าของวรรณคดีเรื่องหนึ่งๆ ว่าเป็นงานศิลปะที่ถึงพร้อมเพียงใด  มีข้อดีเด่นอย่างไร มีข้อด้อยอย่างไร  มีข้อคิดที่สัมพันธ์กับชีวิตจริงเพียงใด เป็นต้น ความตระหนักดังกล่าวย่อมนำไปสู่ความซาบซึ้งในคุณค่าทำให้เกิดความหวงแหน อยากจะรักษาไว้ให้ดำรงเป็นสมบัติของชาติต่อไปส่วนการวิจารณ์วรรณคดี ซึ่งมีอยู่หลายระดับ  ในระดับต้นๆ เป็นการบอกกล่าวความคิดเห็นส่วนตัวว่าชอบหรือไม่ชอบเรื่องที่อ่านอย่างไร  บางครั้งอาจจะติชมว่าดีหรือไม่ดีด้วยแต่ผู้อ่านที่ดีจะต้องไม่หยุดอยู่เพียงนั้น  ควรจะถามตนเองต่อไปว่าที่ชอบหรือไม่ชอบ และที่ว่าดีหรือไม่ดีนั้นเพราะเหตุใด  อ่านต่อ
https://www.google.co.th/search?q=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%84%E0%B8%94%E0%B8%B5&rlz=1C1CHZL_thTH714TH714&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwjim9WD17DVAhUGP48KHUzFAoAQ_AUICigB&biw=1920&bih=974#imgdii=5oBcdBAfzyVkzM:&imgrc=AjkIgeO8CGDgZM:

คำนมัสการคุณานุคุณ

คำนมัสการคุณานุคุณ

คำนมัสการคุณานุคุณ เป็นผลงานการประพันธ์ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อยอาจารยางกูร) มีเนื้อหาว่าด้วยการน้อมรำลึกและสำนึกในคุณงามความดีของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ บิดามารดา และครูอาจารย์ โดยมีความมุ่งหมายให้ผู้อ่าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนไทย ยึดมั่นในความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณและนำแบบอย่างอันดีงามไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม   อ่านต่อ
https://www.google.co.th/search?q=%E0%B8%84%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%93&rlz=1C1CHZL_thTH714TH714&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwjssLbT1rDVAhXCOY8KHUmiAJAQ_AUICigB&biw=1920&bih=974#imgrc=AD5SnyvbMONImM:

อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง

อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง

 อิเหนา เป็นวรรณคดีที่ได้รับการยกย่องของบทละครลำ เพราะเป็นหนังสือซึ่งแต่งดีทั้งกลอน ทั้งความ และทั้งกระบวนการที่ตะเล่นละครประกอบการ และยังเป็นหนังสือที่ดี ในทางที่ตะศึกษาประเพณีไทยสมัยโบราณ  แม้บทละครเรื่องอิเหนาจะมีเค้าโครงมาจากนิทานพื้นเมืองของชาวชวา  เอกสารที่เกี่ยวข้องมีดังนี้      อ่านต่อ
https://www.google.co.th/search?q=%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B2+%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%A8%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B8%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%87&rlz=1C1CHZL_thTH714TH714&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwiDxYb_1bDVAhWMtI8KHdAfDk0Q_AUICigB&biw=1920&bih=974#imgrc=Mc7G7whXmwFldM:

นิทานเวตาล

นิทานเวตาล

นิทานเวตาล ฉบับนิพนธ์ พระราชวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ มีที่มาจากวรรณกรรมสันสกฤตของอินเดีย  โดยมีชื่อเดิมว่า เวตาลปัญจวิงศติ” ศิวทาสได้แต่งไว้ในสมัยโบราณ
ต่อมาได้มีผู้นำนิทานเวตาลทั้งฉบับภาษาสันสกฤตและภาษาฮินดีมาแปลเป็นภาษาอังกฤษ โดยร้อยเอก เซอร์ ริชาร์ด เอฟ. เบอร์ตัน  ก็ได้นำมาแปลและเรียบเรียงแต่งแปลงเป็นสำนวนภาษาของตนเองให้คนอังกฤษอ่าน       อ่านต่อ
https://www.google.co.th/search?q=%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A5&rlz=1C1CHZL_thTH714TH714&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwjsr_Tg1bDVAhVEP48KHfZmAgUQ_AUICigB&biw=1920&bih=974#imgrc=Ng11ZnD8wUTz0M:

นิราศนรินทร์

นิราศนรินทร์
นิราศนรินทร์ เป็นวรรณคดีในยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น ประเภทนิราศ ที่จัดว่าแต่งได้ดี โดยกระทรวงศึกษาธิการได้คัดมาให้นักเรียนได้ศึกษากันในชั้นเรียน และมีบทโคลงที่ใช้เป็นแบบแผนของโคลงสี่สุภาพด้วย    อ่านต่อ
https://www.google.co.th/search?q=%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C&rlz=1C1CHZL_thTH714TH714&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwib7-ac1bDVAhUKr48KHXB4AGUQ_AUICigB&biw=1920&bih=974#imgrc=5V8sco6PZXEj0M:

เรื่องหัวใจชายหนุ่ม


เรื่องหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงใช้พระนามแฝงว่า รามจิตติ เพื่อพระราชทานลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์  ดุสิตสมิตเมื่อ พ..๒๔๖๔ ลักษณะการพระราชนิพนธ์เป็นรูปแบบของจดหมาย มีจำนวน ๑๘ ฉบับ รวมระยะเวลาที่ปรากฏตามจดหมายทั้งหมด อ่านต่อ
https://www.google.co.th/search?q=%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B9%83%E0%B8%88%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%A1&rlz=1C1CHZL_thTH714TH714&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwjrssni1LDVAhUBQo8KHSV0AOwQ_AUICigB&biw=1920&bih=974#imgrc=OPKFNSZGvUsnyM:

ประเภทวรรณคดี

ประเภทของวรรณคดี     การจำแนกประเภทของวรรณคดีออกเป็นประเภทต่าง ๆ ใช้เกณฑ์การจำแนก คือ  จำแนกตามจุดมุ่งหมาย  รูปแบบการประพันธ์  รูปแบบ...